ลักษณะงานก่อสร้างที่ต้องใช้เสาเข็มเจาะ
เสาเข็มเจาะระบบแห้งเป็นระบบเสาเข็มเจาะขนาดเล็กที่มีแรงสั่นสะเทือนต่ำ ไม่กระทบต่ออาคารใกล้เคียง
ขั้นตอนเสาเข็มเจาะ
การทดสอบเสาเข็มเจาะ
ข้อจำกัดของเสาเข็มเจาะ
ทำไมวิศวกรผู้ออกแบบจึงนิยมใช้ เสาเข็มเจาะ
บริการเสาเข็มเจาะ
ลักษณะงานที่ต้องใช้เสาเข็มเจาะ
- งานฐานรากที่ต้องระวังเกียวกับการสั่นสะเทือนต่ออาคารข้างเคียง
- งานฐานรากแก้ไขอาคารที่อาจมีผลกระทบต่อโครงสร้างเดิม
- งานฐานรากที่ต้องการการสั่นสะเทือนน้อย เพื่อป้องกันความเสียหายต่ออาคารข้างเคียง
- งานฐานรากบริเวณที่คับแคบหรือใต้อาคาร
- งานฐานรากที่ต่อเติมขึ้นใหม่จากอาคารเดิม
- งานแก้ไขฐานรากอาคารโดยไม่ทำลายโครงสร้างเดิม
- งานฐานรากขยายต่อเติมจากอาคารเดิม
- งานฐานรากที่มีพื้นที่จำกัดคับแคบ เช่น ในตัวอาคาร ใต้อาคาร ฯ
ใคร่ขอแนะนำเกี่ยวกับปลายเสาเข็มเจาะระบบแห้งดังนี้
- ควรให้ปลายเสาเข็มเจาะอยู่ในชั้นดินเหนียวแข็งเหนือชั้นทราย ให้ระยะเหนือชั้นทราย
เพียงพอที่จะไม่กระทบกระเทือนชั้นทรายจนน้ำใต้ดินไหลดันขึ้นมา และต้องให้มีระยะหนาเพียงพอที่จะไม่เกิดการดันทะลุ (punching) ลงในชั้นทรายได้ (อาจให้ระยะเหนือชั้นทรายประมาณ 2-3 เท่าเส้นผ่าศูนย์กลางเข็ม) การวางปลายเสาเข็มเจาะ ที่ระดับเช่นนี้ Stress Zone ที่เกิดจากส่วนปลายเข็มจะผ่านเข้าในชั้นทรายแน่นที่ยังคงแน่นตามสภาพเดิม จะได้แรงต้านปลายเข็มที่ดีกว่าการไปเจาะดินรบกวนชั้นทราย
- ในกรณีดินเหนียวเหนือชั้นทรายเป็นดินอ่อน ควรให้ปลายเสาเข็มเจาะ อยู่ในดินเหนียวแข็งใต้ชั้นทราย วิธีนี้ต้องขุดเจาะดินผ่านชั้นทรายชั้นแรก (First sand layer) จึงจำเป็นต้องลงปลอกเหล็กกันดินผ่านชั้นทรายให้ปลายปลอกเหล็กฝังจมในดินเหนียวแข็ง ปลอกเหล็กจะป้องกันการพังทลายของทรายและป้องกันน้ำไหลเข้ามาในหลุมเจาะได้
– แต่หากยังต้องการวางปลายเสาเข็มเจาะในชั้นทรายอย่างแน่นอนแล้ว ควรให้เป็นเสาเข็มเจาะระบบเปียกที่ใช้สารละลายเบนโทไนท์หรือสารละลายอื่นใดที่มีความหนาแน่นเพียงพอที่จะป้องกันการพังทลายของทราย และทำให้ทรายมีความแน่นตัวใกล้เคียงสภาพเดิมที่เคยเป็นอยู่จะได้ผลดีกว่า ซึ่งนั่นไม่ได้หมายความว่าจะต้องใช้เครื่องมือขนาดใหญ่ในการทำเสาเข็มเจาะเสมอไป ในระดับความลึกไม่เกิน 25 เมตร ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 60 ซม. สามารถทำเสาเข็มเจาะระบบเปียกได้ด้วยเครื่องมือชนิดสามขาเช่นกัน แต่เป็นที่แน่นอนว่าต้องใช้เวลาในการทำงานมากกว่า
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 35-40-50-60-80-100-120-150 เซนติเมตร รับทำเสาเข็มเจาะทั่วประเทศ บริการเจาะเสาเข็ม รับเจาะเข็ม ทำเสาเข็มเจาะ เจาะเข็ม ราคาเสาเข็มเจาะ จำหน่ายเสาเข็ม เข็มเจาะ เข็มเจาะแห้ง รับทำเสาเข็มเจาะ เจาะเสาเข็ม เสาเข็มเจาะ งานเสาเข็มเจาะ รับออกแบบเสาเข็ม ควบคุมดูแลโดยช่าง วิศวกรผู้ชำนาญงาน
เสาเข็มเจาะระบบแห้งเป็นระบบเสาเข็มเจาะขนาดเล็กที่มีแรงสั่นสะเทือนต่ำ ไม่กระทบต่ออาคารใกล้เคียง อีกทั้งยังสะดวกต่อการขนย้ายและยังสามารถทำงานได้ในพื้นที่แคบๆ การปลูกสร้างอาคารต่างๆสิ่งสำคัญที่สุดคือฐานราก ซึ่งถ้าไม่สามารถรับน้ำหนักของอาคารได้แล้ว ยังทำให้อาคารทรุดหรือแตกร้าวได้ซึ่งยากต่อการแก้ไข และสามารถทำความเดือดร้อนให้ข้างบ้านเรือนเคียงอีกด้วย นำมาซึ่งปัญหาต่างๆ มากมาย
เป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านเข็มเจาะขนาดเล็กโดยตรง ครบครันด้วย วัสดุ อุปกรณ์ที่เป็นมาตรฐาน และทีมงานที่เป็นวิศวกร ผู้ควบคุมงานที่มีประสบการณ์มากกว่า 20 ปี ให้บริการเสาเข็มเจาะขนาดเล็กแบบสามขา ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 35-40-50-60 เซนติเมตร รับน้ำหนักปลอดภัยได้ตั้งแต่ 25-80 ตัน หรือมากกว่านั้น เหมาะสำหรับก่อสร้างอาคารทุกประเภท ตั้งแต่อาคารบ้านพักอาศัยขนาดเล็ก อพาร์ทเมนท์ โกดังสินค้า หรือ โรงงานอุตสาหกรรม
ขั้นตอนเสาเข็มเจาะ
- จัดเครื่องมือเข้าศูนย์กลางเสาเข็มเจาะ
- ตอกปลอกเหล็กชั่วคราว
- การเจาะ
- ตรวจสอบรูเจาะก่อนใส่เหล็กเสริม
- เทคอนกรีต
การทดสอบเสาเข็มเจาะ
- ทดสอบโหลดแบบไดนามิก
- ทดสอบการรับน้ำหนักคงที่
ลักษณะงานที่ต้องใช้เสาเข็มเจาะ
- งานฐานรากที่ต้องระวังเกียวกับการสั่นสะเทือนต่ออาคารข้างเคียง
- งานฐานรากแก้ไขอาคารที่อาจมีผลกระทบต่อโครงสร้างเดิม
- งานฐานรากที่ต้องการการสั่นสะเทือนน้อย เพื่อป้องกันความเสียหายต่ออาคารข้างเคียง
- งานฐานรากบริเวณที่คับแคบหรือใต้อาคาร
- งานฐานรากที่ต่อเติมขึ้นใหม่จากอาคารเดิม
- งานแก้ไขฐานรากอาคารโดยไม่ทำลายโครงสร้างเดิม
- งานฐานรากขยายต่อเติมจากอาคารเดิม
- งานฐานรากที่มีพื้นที่จำกัดคับแคบ เช่น ในตัวอาคาร ใต้อาคาร ฯ
ข้อจำกัดของเสาเข็มเจาะ
- ระยะห่างจากผนัง กำแพงต้องไม่ต่ำกว่า 75 เซนติเมตร
- ความสูงจากพื้นไม่ต่ำกว่า 3 เมตร
- เมื่อเจาะถึงระดับชั้นทรายต้องหยุดเจาะ
- เมื่อเจาะเจอชั้นน้ำต้องหยุดเจาะทันทีแม้ว่าจะยังไม่ถึงชั้นทรายก็ตาม
- พื้นที่เจาะต้องอยู่ในแนวระนาบเรียบ
- พื้นที่ต้องไม่เป็นดินเลนโคลนลึก
- เมื่อเจาะเจอเสาเข็มเก่าหรือสิ่งกีดขวางต้องทำการย้ายหมุดศูนย์เข็ม
ทำไมวิศวกรผู้ออกแบบจึงนิยมใช้ เสาเข็มเจาะ
- สามารถออกแบบเสาเข็มให้รับแรงและรับน้ำหนักได้ตามแบบ
- ช่วยลดแรงสั่นสะเทือนในการทำงานเสาเข็มเจาะได้ดีกว่าเสาเข็มตอก
- รวดเร็วทันใจ ลดเวลาการทำงานรากฐาน
- สามารถทำงานในพื้นที่แคบได้เป็นอย่างดี
- เสาเข็มเจาะจึงเหมาะกับงานฐานรากและสิ่งปลูกสร้างทุกชนิด
บริการเสาเข็มเจาะ
- รับงานทั่วไทย
- เสาเข็มเจาะ
- รับเจาะเสาเข็ม
- รับออกแบบเสาเข็มเจาะ
- เสาเข็มเจาะแบบแห้ง Dry Process
- เสาเข็มเจาะแบบเปียก Wet Process
- จำหน่ายเสาเข็ม
- เข็มเจาะ
- จำหน่ายเสาเข็มเจาะ